Digital Forensics:Forensic Imaging with DD command
dd – Linux Command คำสั่ง backup ข้อมูลใน harddisk ในทาง digital forensics ใช้คำสั่ง DD ในการทำสำเนาหลักฐาน Forensic Imaging
คำสั่ง
dd if=<source file name> of=<target file name> [Options]- if=<source> – กำหนดตำแหน่ง directory ต้นทางที่ต้องการ Forensic Image ข้อมูล โดย “if” คือ input-file
- of=<destination> –กำหนดตำแหน่ง file ปลายทางที่ต้องการ Image file ทำการเขียนข้อมูลลงไป โดย “of” คือ output-file
dd if=/dev/sda of=/dev/sdb
2. ทำการ backup partition ที่ต้องการ ไปยัง file ที่กำหนด
dd if =/dev/sda2 of=~/hdadisk.img
3. ทำการ restore จาก Image file
dd if=hdadisk.img of=/dev/sdb3
4. คำสั่งลบข้อมูล (WIPE Disk) บน Harddisk
dd if=/dev/zero of=/dev/hda bs=4K conv=noerror,sync
5. Hash > Hashing the evidence for integrity checkingsha1sum /dev/hda | tee ForensicImage_sha1.txt
md5sum /dev/hda | tee ForensicImage_md5.txt
6. example dd if=/dev/hda bs=4K conv=sync,noerror | tee ForensicImage.img | md5sum > ForensicImage.md5
เมื่อทำ ForensicImage แล้ว ควรทำการ hash ไฟล์ข้อมูลทุกครั้งด้วย md5 หรือ SHA-1
โครงสร้างคำสั่ง
dd [OPERAND]... dd OPTIONif => input file
/dev/hda => the linux name of a physical disk. Mac has their own names.
/dev/zero => in linux, this is an infinite source of nulls
of => output file
ForensicImage.img => The name of the image file you are creating
bs => blocksize
65536 => 64K (I normally use 4K in linux. That is what the linux kernel uses as a page size.)
เป็นการบอกให้ dd ทำการอ่านและเขียนข้อมูลทีล่ะ 1024*64 k = 65536 byte blocksize
noerror => don't die if you have a read error from the source drive
conv=noerror คือในกรณีที่คำสั่ง dd ทำการอ่านข้อมูลแล้วเกิดข้อผิดพลาดขึ้น ให้ dd ทำการอ่านข้อมูลต่อไปโดยที่ไม่ต้องหยุดการทำงาน
sync => if there is an error, null fill the rest of the block.
note:
- ถ้ามี bad bad มาด้วย
- HDD ควรมีขนาดเท่ากัน หรืออย่างน้อยขนาดของ HDD ที่จะเก็บข้อมูลที่จะ backup ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าตัวหลัก
DD command
ที่มา:
saixiii
www.forensicswiki
howtoforge
packtpub
* หากมีข้อมูลข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย รบกวนแจ้ง Admin เพื่อแก้ไขต่อไป
ขอบคุณครับ
#WindowsForensic #ComputerForensics #dfir #forensics #digitalforensics #computerforensic #investigation #cybercrime #fraud
No comments:
Post a Comment