Saturday, March 20, 2021

DIGITAL FORENSICS:การรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐาน

DIGITAL FORENSICS:การรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐาน

การรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐาน

Photo by :สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ETDA)

กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ม.11

มาตรา 11 ห้ามมิให้ปฏิเสธการรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐาน ในกระบวนการพิจารณาตามกฎหมายเพียงเพราะ เหตุว่าเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จะเชื่อถือได้หรือไม่เพียงใดนั้น ให้พิเคราะห์ถึงความน่าเชื่อถือของลักษณะหรือ วิธีการที่ใช้สร้าง เก็บรักษา หรือสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ลักษณะ หรือวิธีการรักษา ความครบถ้วน และไม่มีการเปลี่ยนแปลงของข้อความ ลักษณะหรือวิธีการ ที่ใช้ในการระบุหรือแสดงตัวผู้ส่งข้อมูล รวมทั้งพฤติการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งปวง

ความน่าเชื่อถือของพยานหลักฐานพิจารณาจาก

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8089/2556


คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6757/2560

การรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐาน ศาลฎีกา ก็มีคำพิพากษารองรับชัดเจนว่า ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เขียนไว้ในกฎหมายและใช้ได้จริง ๆ สามารถนำลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปบังคับคดีในศาลได้

หมายเหตุ:เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลและเพื่อการศึกษาเท่านั้น

* หากมีข้อมูลข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย  รบกวนแจ้ง Admin เพื่อแก้ไขต่อไป
ขอบคุณครับ

#WINDOWSFORENSIC #COMPUTERFORENSICS #DFIR #FORENSICS #DIGITALFORENSICS #COMPUTERFORENSIC #INVESTIGATION #CYBERCRIME #FRAUD



 

No comments:

Post a Comment

Digital Forensics:User Access Logging (UAL)

 Digital Forensics:UAL  Log What Is User Access Logging? UAL is a feature included by default in Server editions of Microsoft Windows, start...