Digital Forensics: Steganography III
STEGANO GRAPHY
ทฤษฎีการอำพรางข้อมูลเป็นเทคนิคใน การช่อนพรางข้อมูลเข้าไปในแฟ้ม คอมพิวเตอร์รวมถึงสื่ออื่น ๆ โดยใช เทคนิคต่าง ๆการเรียนรู้ทฤษฎีการ อำพรางข้อมูลเพื่อให้ผู้เรียนสามารถ ประยุกต์ใช้เทคนิคเหล่านี้ในงานต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถ ตรวจสอบความผิดปกติของข้อมูล ที่มี สารสนเทศอื่น ๆ ช่อนอยู่ภายในได้
ความแตกต่างของวิทยาการอำพรางข้อมูล กับวิทยาการเข้ารหัสลับ
วิทยาการเข้ารหัสลับ วิทยาการเข้ารหัสลับมุ่งเน้นการกระทำกับตัวข้อมูล โดยการเปลี่ยนแปลงข้อมูลไปอยู่ในรูปแบบที่เป้าหมาย เท่านั้นที่สามารถรับรู้เนื้อหาของข้อมูลได้ ในขณะที่ วิทยาการอำพรางข้อมูลมุ่งไม่ให้บุคคลอื่น รับรู้ว่ามี ข้อมูลส่งออกไป
วิทยาการอำพรางข้อมูล การอำพรางข้อมูลมีจุดแข็งเหนือว่าการเข้ารหัสลับข้อมูลตรงที่ข้อมูลที่ซ่อนพรางไว้นั้นไม่เป็นที่สนใจใน ขณะที่การเข้ารหัสลับ ไม่ว่าจะเข้ารหัสด้วยวิธีที่เข้ม แข็งขนาดไหน) ก็จะกระตุ้น ความสนใจได้โดยง่าย อีกทั้งการเข้ารหัสลับข้อมูลยังถือเป็นอาชญากรรม ในบางยุค/บางประเทศอีกด้วย
การใช้วิทยาการอำพรางข้อมูลอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
เจ้าหน้าที่ของรัฐ อาทิ ตำรวจ หน่วยข่าวกรอง) ที่ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายสามารถ ตรวจ สอบการค้ายาพอนาจารของเด็ก การฉ้อโกงทางบัญชี การขโมยข้อมูลประจำตัว และการก่อการร้ายได้โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย
การใช้วิทยาการอ้าพรางข้อมูลอย่างผิดจรรยาบรรณ
วิทยาการว่าพรางข้อมูล สามารถใช้เพื่อวัตถุประสงค์ที่ผิดจรรยาบรรณหลายประการ อาทิ การฉ้อโกง การเช็ก การพนัน การชื่อขายภาพอนาจาร การล่วงละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญา อาชญากรไซเบอร์อาจใช้แฟ้ม พรางที่มีมัลแวร์บรรจุอยู่ภายในเป็นเครื่อง มือในการส่งมอบมัลแวร์ไปสู่เป้าหมายโดยระบบตรวจสอบมัลแวร์ และ anti-virus ไม่ สามารถตรวจสอบได้
อ่านเพิ่มเติม
หมายเหตุ:เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลและเพื่อการศึกษาเท่านั้น
* หากมีข้อมูลข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย รบกวนแจ้ง Admin เพื่อแก้ไขต่อไป
ขอบคุณครับ
#WindowsForensic #computerforensic #ComputerForensics #dfir #forensics
#digitalforensics #investigation #cybercrime #fraud #Steganography
No comments:
Post a Comment