Tuesday, May 19, 2020

DIGITAL FORENSICS:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE

DIGITAL FORENSICS:incident-response-challenge


วันนี้่จะมาแนะนำการฝึกทำ Digital Forensics & Incident Response ในเว็บ incident-response-challenge.com/  ของ Cynet  มีโจทย์ CTF มาให้ลองเล่น เป็นโจทย์แนว forensics
:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE
Cynet  คือ แพลตฟอร์มทางเลือกสำหรับ Incident Response

แพลตฟอร์ม Cynet 360 ช่วยให้ผู้รับมือ Incident Response ด้วยการมองเห็น process execution, network traffic and user activity. ปริมาณการใช้เครือข่ายและกิจกรรมของผู้ใช้ สภาพแวดล้อมทั้งหมด ช่วยให้ผู้เชี่ยวชาญด้าน IR สามารถมองเห็นได้ทันที  ใช้ในการสืบสวน  ช่วยในเรื่องขั้นตอนการตรวจสอบเบื้องต้นเพื่อให้เข้าใจถึงขอบเขตของเหตุการณ์ โดยไม่ต้องเสียเวลา


Hall of Fame  ลำดับสุดยอด  คนที่ทำคะแนนได้สูงและเร็ว แต่ละประเทศ จะเห็นได้ว่ามีคนไทยเก่งๆหลายคน และอาจารย์ที่ผมรู้จักด้วย
:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE

:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE

ก่อนเล่นให้ ทำการสมัครสมาชิก
:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE
Challenges เริ่มทำ โดยมีการจับเวลา
:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE
เมื่อทำการ Download File เวลาจะเริ่มเดิน และ เมื่อทำเสร็จให้กด Submit 
:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE
ใช้เครื่องมือต่างๆและความรู้ทางด้าน  Digital Forensics & Incident Response
ตัวอย่าง ข้อ Basic ก็ถือว่ายากสำหรับคนที่ไม่มีพื้นฐานด้านนี้ แต่คนที่มีพื้นฐานก็จะสนุกกลับมัน

JumpList Explorer
:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE
 Volatility Workbench
:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE
 MFTDump
:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE
Windows prefetch
:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE

:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE
 Registry Viewer
:INCIDENT-RESPONSE-CHALLENGE


และเป็นอีกครั้งที่ผมทำ LAB ไม่เสร็จ ขอค้างไว้แค่นี้ก่อนแล้วค่อยทยอย ทำเรื่อยๆครับ

Challenge-Answers

หมายเหตุ : เหมาะสำหรับการฝึกฝน Digital Forensics & Incident Response และทำให้ใช้เครื่องมือต่างๆ ได้คล่อง


หมายเหตุ:เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลและเพื่อการศึกษาเท่านั้น

* หากมีข้อมูลข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย  รบกวนแจ้ง Admin เพื่อแก้ไขต่อไป
ขอบคุณครับ


#WindowsForensic #ComputerForensics #dfir #forensics #digitalforensics #computerforensic #investigation #cybercrime #fraud #ฝึกทำLab

Saturday, May 9, 2020

DIGITAL FORENSICS:CTF questions

DIGITAL FORENSICS:CTF questions

These are beginner CTF questions for the Forensic and Security Technology club at Cal Poly Pomona.

  

วันนี้เราลองมาทดลองทำ Lab  WINDOWS FORENSIC  LNK File โดยใช้ LECmd

 File8

DIGITAL FORENSICS:CTF

WINDOWS FORENSIC .LNK FILES-PART 2

 

Ref :mfput

หมายเหตุ:เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลและเพื่อการศึกษาเท่านั้น

* หากมีข้อมูลข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย  รบกวนแจ้ง Admin เพื่อแก้ไขต่อไป
ขอบคุณครับ

#WindowsForensic #ComputerForensics #dfir #forensics #digitalforensics #computerforensic #investigation #cybercrime #fraud #CTF

Digital Forensics: Mount Disk Images (VDMK) With OSFMount

Digital Forensics: Mount Disk Images (VDMK) With OSFMount

OSFMount is a lightweight software for Windows that supports a variety of disk images. Among the supported formats are popular disk image formats such as ISO, Bin, IMG and NRG plus some exotic formats like DD, VMDK and AFD.

In case study you mount a VM as a drive in OSForensics, The VM is assigned the next available drive letter
on your system in read-only mode, and then you do an image acquisition.

Step 1.
Start OSForensics and from the left pane select Manage Case and then click the New
Case button. Give the case a title such as 1 and click OK.
Again; from the left pane, scroll down and click Mount Drive Image to open the
PassMark OSFMount utility.
Step 2.
In the lower-left corner, click Mount new to open the OSFMount - Mount drive
windows.
Step 3.
Make sure Image file is selected, and click the […] button. Scroll to the location of
VirtualBox VMs in External Drive "Windows 10 Pro.vmdk" file.In the “Select a partition in image”

vmdk file.
Step 4.
The .vmdk file should be displayed as a mounted drive, as shown in the screen shot.
If a Windows dialog prompts to format the new drive, click Cancel.

Step 5.
From the lower section of the Manage Case window select the Add Device button and
from the Drive drop down menu select the drive letter that relates to the .vmdk
previously mounted. Click the OK button.
Step 6.
Double Click the Device Drive now listed in the lower window to open the File System
Browser application where you can explore the drive contents.
Close File System Browser window.

Supported File Extensions

OSFMount supports the mounting of the following Windows image file formats:

ที่มา:
https://bit.ly/2TxZcUX
https://www.osforensics.com/tools/mount-disk-images.html
https://bit.ly/2VBLgMk

หมายเหตุ:เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลและเพื่อการศึกษาเท่านั้น

* หากมีข้อมูลข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย  รบกวนแจ้ง Admin เพื่อแก้ไขต่อไป
ขอบคุณครับ

#WindowsForensic #ComputerForensics #dfir #forensics #digitalforensics #computerforensic #investigation #cybercrime #fraud

Tuesday, May 5, 2020

DIGITAL FORENSICS:ACCESSDATA CERTIFIED INVESTIGATOR

DIGITAL FORENSICS:ACCESSDATA CERTIFIED INVESTIGATOR

 

ACCESSDATA CERTIFIED INVESTIGATOR Free

Forensic Certifications

 Forensic Tools

Summary

The AccessData Certified Investigator is AccessData's entry level certification which tests the investigators basic knowledge of AccessData's Forensic Toolkit, FTK Imager, Registry Viewer, and Password Recovery Toolkit. This multiple choice only certification is designed to show that the individual understands the basic operations of AccessData's FTK tools.

Description

The AccessData Certified Investigator (ACI) is AccessData’s free entry level certification covering Forensic Toolkit (FTK), FTK Imager, Registry Viewer and Password Recovery Toolkit (PRTK). This certification is multiple choice only and will test the knowledge of the user on the basic operations of these tools. This is not a forensic theory, practice, or procedure certification.
Getting Ready: While no training or software is required to take this certification, it is recommended that the user have some experience or training with the tool. The topics of the ACI are covered in the Forensic Tools On-Demand Introduction courses. Those courses may be found using the following links:
  • Introduction to Forensic Toolkit
  • Introduction to FTK Imager
  • Introduction to Registry Viewer
  • Introduction to Password Recovery Toolkit
Certification information:
  • Cost: Free
  • Number of Questions: 72
  • Passing Score: 80%
  • Number of Attempts: 2
  • Valid For: 1 Year
  • Recertification: As the certificate nears expiration a reminder email will be sent. The user will be able to login to AccessData’s training site and take the certification test again to renew.
  • Certificate: The certificate should be emailed to the student upon successful completion and passing of the exam. Certificates may also be managed from the users account page within the AccessData Training page. 

Passed Accessdata Certified Examiner ACE

Ref:

  https://training.accessdata.com/exam/accessdata-certified-investigator

#WindowsForensic #ComputerForensics #dfir #forensics #digitalforensics #computerforensic #investigation #cybercrime #fraud #MobileForensics

#Passed ACCESSDATA CERTIFIED INVESTIGATOR Free


หมายเหตุ:เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลและเพื่อการศึกษาเท่านั้น
* หากมีข้อมูลข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย  รบกวนแจ้ง Admin เพื่อแก้ไขต่อไป
ขอบคุณครับ

 

 

Friday, May 1, 2020

DIGITAL FORENSICS:blackbagtech Mobilyze Tool Training

DIGITAL FORENSICS:blackbagtech Mobilyze Tool Training

 
Forensic Imaging & DATA Extraction

blackbagtech Mobilyze Tool Training

Course Description

Mobilyze Tool Training is a software-specific tutorial course, offered both as self-paced and in-classroom formats. During the two hours allocated for Mobilyze Tool Training, students learn the functionality of Mobilyze and how to use the tool to quickly triage and acquire Android and iOS (iPhone and iPad) device data. As with other BlackBag courses, Mobilyze Tool Training is designed with a hands-on approach, helping to ensure that students walk away feeling confident and proficient as Mobilyze users.

Duration

2 Hours

Cost

Mobilyze Tool Training is available for FREE*

Mobilyzer Tool Training, Self Paced Study

Forensic Imaging & DATA ExtractionForensic Imaging & DATA Extraction

Android Acquisitions


Forensic Imaging & DATA Extraction

Forensic Imaging & DATA Extraction

Forensic Imaging & DATA Extraction

Forensic Imaging & DATA Extraction

Forensic Imaging & DATA Extraction

Forensic Imaging & DATA Extraction

Forensic Imaging & DATA Extraction



Forensic Imaging & DATA Extraction

Mobile Forensics

Forensic Imaging & DATA Extraction

Certified Mobilyzer Operator (CMO) Exam

Forensic Imaging & DATA Extraction

Ref:

 https://www.blackbagtech.com/training/courses/mobilyze-tool-training/

#WindowsForensic #ComputerForensics #dfir #forensics #digitalforensics #computerforensic #investigation #cybercrime #fraud #MobileForensics


หมายเหตุ:เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลและเพื่อการศึกษาเท่านั้น
* หากมีข้อมูลข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย  รบกวนแจ้ง Admin เพื่อแก้ไขต่อไป
ขอบคุณครับ

 

Digital Forensics:GDPR

Digital Forensics:GDPR


กฎหมาย GDPR ฉบับรวบรัด


อะไร อย่างไร เกี่ยวกับ GDPR




“General Data Protection Regulation” หรือเรียกด้วยอักษรย่อว่า GDPR เป็นกฎหมายของสหภาพยุโรปว่าด้วยมาตรการคุ้มครองความเป็นส่วนตัวของข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งมีผลบังคับใช้วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมา จึงอาจส่งผลกระทบต่อหลายฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าภาครัฐ ภาคเอกชน หรือ ภาคธุรกิจที่มีการดำเนินการเกี่ยวกับการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล หรือ การให้บริการออนไลน์แก่บุคคลที่อยู่ในสหภาพยุโรป ดังนั้น การเตรียมความพร้อมและทำความเข้าใจกฎหมาย GDPR จึงมีความจำเป็นเพื่อส่งเสริมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของภาคธุรกิจให้เทียบเท่ากับมาตรฐานสากล และป้องกันผลกระทบจากกฎหมายที่อาจเกิดขึ้นอีกด้วย
เนื่องจากการปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎหมาย GDPR มีหลายขั้นตอน เพื่อให้เข้าใจภาพรวมของกฎหมาย GDPR ได้ง่ายขึ้น ผู้อ่านสามารถทำความเข้าใจโดยเริ่มต้นจากสรุปย่อหลักสำคัญต่าง ๆ ดังนี้
ข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data)
ข้อมูลส่วนบุคคลตามนิยามของ GDPR คือ ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทำให้สามารถระบุตัวบุคคลนั้นได้ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม รวมถึงข้อมูลที่นำมารวมกันแล้วสามารถใช้ระบุอัตลักษณ์ของบุคคลได้
ตัวอย่างข้อมูลส่วนบุคคล
  • ชื่อ-นามสกุล
  • ที่อยู่บ้าน
  • อีเมล เช่น name.surname@company.com
  • หมายเลขบัตรประจำตัว
  • ข้อมูลที่ตั้ง (Location Data) เช่น ข้อมูลที่ตั้งจากโทรศัพท์เคลื่อนที่
  • IP Address
  • Cookie ID
  • หมายเลข ID เพื่อใช้ในการโฆษณาในโทรศัพท์เคลื่อนที่
  • เวชระเบียนและข้อมูลสุขภาพอื่น ๆ ซึ่งสามารถใช้ระบุอัตลักษณ์ของผู้ป่วยได้
  • พฤติกรรมการบริโภคสินค้า-บริการ
ตัวอย่างข้อมูลที่ไม่นับว่าเป็นข้อมูลส่วนบุคคล
  • หมายเลขจดทะเบียนบริษัท
  • อีเมล เช่น info@company.com
  • ข้อมูลนิรนาม
บทบาทของผู้เกี่ยวข้องกับการประมวลผลข้อมูล
GDPR ได้ให้คำจำกัดความและหน้าที่ของบทบาทของผู้เกี่ยวข้องกับการประมวลผลข้อมูลหลักไว้ 3 บทบาท ดังนี้
  1. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (Controller) คือ กำหนดวัตถุประสงค์และวิธีการในการประมวลผลข้อมูล ซึ่งโดยส่วนมากจะเป็นผู้ขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล เช่น ผู้ให้บริการเว็บไซต์ต่าง ๆ
  2. ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Processor) คือ ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลตามวัตถุประสงค์และวิธีการของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งในทางปฏิบัติอาจเป็นบุคคลเดียวกับผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลก็ได้ อนึ่ง “การประมวลผลข้อมูล” (Processing) ตามกฎหมาย GDPR นั้น ไม่ใช่เพียงแค่การวิเคราะห์ หรือ จัดการข้อมูลแบบทั่วไปเท่านั้น แต่ให้รวมถึงการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลด้วย
  3. เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (Data Subject)
ขอบเขตการบังคับใช้โดยสังเขป
หลักเกณฑ์ที่จะต้องพิจารณาต่อไปคือ การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลกระทำ “ที่ใด” และข้อมูลส่วนบุคคลเป็น “ของใคร” ซึ่งกฎหมาย GDPR ได้กำหนดให้ “การประมวลผลข้อมูล” ในลักษณะต่อไปนี้ต้องตกอยู่ภายใต้ขอบเขตการบังคับใช้ของกฎหมาย GDPR ดังนี้
  1. “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” หรือ “ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล” มีสถานประกอบการอยู่ภายในสหภาพยุโรป
  2. “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” หรือ “ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล” ไม่มีสถานประกอบการอยู่ภายในสหภาพยุโรป แต่การประมวลผลนั้นเกี่ยวข้องกับการเสนอสินค้าหรือบริการให้แก่บุคคลผู้พำนักในสหภาพยุโรป
  3. “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” หรือ “ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล” ไม่มีสถานประกอบการอยู่ภายในสหภาพยุโรป แต่การประมวลผลนั้นเกี่ยวข้องกับการเฝ้าสังเกตพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสหภาพยุโรป ทั้งนี้ หากมีการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลนอกอาณาเขตของสหภาพยุโรป และประเทศนั้นมีผลผูกพันทางกฎหมายกับประเทศสหภาพยุโรป เช่น สนธิสัญญา จะตกอยู่ภายใต้ขอบเขตการบังคับใช้ของ GDPR เช่นเดียวกัน
หลักการขอ “ความยินยอม” (Consent)
เมื่อการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลตกอยู่ภายใต้ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมาย GDPR ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลต้องปฏิบัติตามหลักพื้นฐานในการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ต้องประมวลผลข้อมูล “โดยชอบด้วยกฎหมาย” เป็นธรรม และโปร่งใสต่อเจ้าของข้อมูล ซึ่งการประมวลผลข้อมูลจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่นั้น ต้องพิจารณาจาก “ความยินยอม” (Consent) ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ตามกฎหมาย GDPR นั้น การขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ทั้ง 4 ข้อ ต่อไปนี้
  1. เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ให้ความยินยอมอย่างเสรี (Freely given) หมายถึง เจ้าของข้อมูลมีทางเลือกในการตัดสินใจว่าจะให้หรือไม่ให้ข้อมูลส่วนใดบ้าง และการไม่ให้ความยินยอมในส่วนนั้นต้องไม่ทำให้เกิดผลเสียแก่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
  2. มีวัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงในการขอความยินยอม (Specific) หมายถึง การประมวลผลข้อมูลนต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ที่แจ้งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเท่านั้น
  3. แจ้งการประมวลผลข้อมูลให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบ (Informed) หมายถึง เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลต้องทราบแล้วว่าจะมีการประมวลผลนั้น ๆ ก่อนให้ความยินยอม
  4. เจ้าของข้อมูลต้องแสดงความยินยอมอย่างไม่กำกวม (Unambiguous) หรือ เป็นการแสดงออกโดยชัดเจน ต้องปราศจากความลังเลสงสัยในการตีความว่าเป็นการกระทำของเจ้าของข้อมูลหรือไม่ เช่น การกดอัปโหลดภาพบัตรประจำตัวประชาชน การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
Privacy by Design
กฎหมาย GDPR กล่าวถึงหลักการ Privacy by Design คือ ฝ่ายผู้ควบคุมข้อมูลต้องคำนึงถึงสิทธิความเป็นส่วนตัวของเจ้าของข้อมูลตั้งแต่ขั้นออกแบบ คงไว้ตลอดกระบวนการที่ตามมา ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ได้ทั้งในบริบทของการพัฒนาระบบ ผลิตภัณฑ์ บริการ แผนธุรกิจ ฯลฯ โดยเรื่อง Privacy by Design นี้มีอยู่ในกระบวนการทางวิศวกรรมบางสาขาและปฏิบัติกันมานานพอสมควรแล้ว แต่ไม่เคยมีการบัญญัติไว้เป็นกฎหมายแน่ชัดมาก่อนจนกระทั่งกฎหมาย GDPR มีผลบังคับใช้
กฎหมาย GDPR ไม่ได้กล่าวถึงหน้าที่ผู้ประมวลผลข้อมูลในหลักการ Privacy by Design อย่างแน่ชัด แต่ระบุว่าผู้ควบคุมข้อมูลต้องเลือกผู้ประมวลผลข้อมูลที่ปฏิบัติตามมาตรการทางเทคนิคและทางการจัดการองค์กรที่เหมาะสมและเพียงพอต่อการคุ้มครองความเป็นส่วนตัวของเจ้าของข้อมูล
นักพัฒนาจำนวนมากมักอ้างอิงถึงหลักการพื้นฐาน 7 ประการ ดังนี้
  1. กันไว้ดีกว่าแก้ (Proactive not reactive; preventative not remedial) ผู้ออกแบบต้องป้องกันมากกว่าแก้ไข คือ คาดคะเนถึงเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์และสุ่มเสี่ยงต่อความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้ แล้วดำเนินมาตรการการป้องกันไว้ก่อนที่จะเกิดขึ้นจริง เริ่มต้นจากการตระหนักถึงคุณประโยชน์ของการปฏิบัติตามนโยบายความเป็นส่วนตัวที่เข้มข้น ยึดมั่นในการใช้มาตรการสูงสุดในการคุ้มครองความเป็นส่วนตัว
  2. ตั้งเป็นค่าตั้งต้น (Privacy as the Default Setting) การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องเป็นไปโดยอัตโนมัติและยังคงอยู่แม้ผู้ใช้ไม่ได้กระทำการใดเพิ่มเติม หากระบุการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลไว้ไม่ชัดเจน จะต้องใช้มาตรการคุ้มครองขั้นสูงสุดเป็นมาตรฐานตั้งต้น
  3. ฝังอยู่ในแม่แบบ (Privacy Embedded into Design) มาตรการความเป็นส่วนตัวจะต้องรวมอยู่ในแม่แบบและสถาปัตยกรรมอย่างกลมกลืน มิใช่เพียงอุปกรณ์เสริมในภายหลังเพื่อสอดคล้องกับกฎหมาย
  4. ยังคงเต็มประสิทธิภาพ (Full Functionality — Positive-Sum, not Zero-Sum) นอกจากความเป็นส่วนตัวที่ออกแบบจะเป็นไปตามข้อกำหนดทางกฎหมายแล้ว จะต้องไม่ลดทอนประสิทธิภาพการทำงานของระบบ ผู้ใช้ไม่ต้องเลือกสิทธิประโยชน์ประการใดประการหนึ่ง อาทิ ระหว่างความเป็นส่วนตัวกับความปลอดภัย ในขณะที่สามารถได้รับสิทธิประโยชน์ทั้งสองได้
  5. จากต้นจรดปลาย (End-to-End Security — Lifecycle Protection) ความเป็นส่วนตัวต้องฝังตัวอยู่ในระบบ เริ่มใช้งานตั้งแต่ก่อนเก็บข้อมูล และมีผลต่อเนื่องตลอดอายุการเก็บรักษาข้อมูล เพื่อสร้างความมั่นใจว่าข้อมูลทั้งหมดได้รับการคุ้มครองและถูกทำลายทิ้งเมื่อสิ้นสุดการใช้งาน
  6. ประจักษ์และโปร่งใส (Visibility and Transparency — Keep it Open) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคนจะต้องได้รับแจ้งถึงมาตรการทางธุรกิจและเทคโนโลยีที่ใช้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่แจ้งไว้ และอนุญาตให้ขอตรวจสอบได้ กรรมวิธีทั้งหมดต้องโปร่งใสทั้งต่อผู้ใช้และผู้ให้บริการ
  7. ผู้ใช้คือศูนย์กลาง (Respect for User Privacy — Keep it User-Centric) ผู้ออกแบบและผู้ให้บริการต้องให้ความสำคัญต่อความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้เป็นสำคัญ โดยมีมาตรการ เช่น แจ้งเตือนตามความเหมาะสม และจัดสรรตัวเลือกความเป็นส่วนตัว (Privacy Option) ที่ใช้งานง่าย

ที่มา:  https://bit.ly/2TvnVYj
#WindowsForensic #ComputerForensics #dfir #forensics #digitalforensics #computerforensic #investigation #cybercrime #fraud
หมายเหตุ:เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลและเพื่อการศึกษาเท่านั้น
* หากมีข้อมูลข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย  รบกวนแจ้ง Admin เพื่อแก้ไขต่อไป
ขอบคุณครับ

Digital Forensics:CDIC2024

Digital Forensics:CDIC2024    งานสัมมนาประจำปีด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์  27-28 พฤศจิกายน 2567 ณ Grand Hall ไบเทค บางนา วันนี้แอดแวะมางาน ...