UEFI (Unified Extensible Firmware Interface) คือส่วนติดต่อเฟิร์มแวร์มาตรฐานสำหรับพีซีที่ออกแบบมาเพื่อใช้แทน
BIOS (Basic Input/Output Aystem) มาตรฐานนี้สร้างขึ้นโดยบริษัทด้านเทคโนโลยีกว่า 140 บริษัท
โดยเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มบริษัท UEFI รวมทั้ง Microsoft ด้วย เฟิร์มแวร์นี้ได้รับการออกแบบขึ้นเพื่อ
ปรับปรุงความสามารถในการทำงานร่วมกันของซอฟต์แวร์และเพื่อแก้ไขข้อจำกัดต่างๆ ของ BIOS
ข้อได้เปรียบบางประการของเฟิร์มแวร์ UEFI ได้แก่
BIOS (Basic Input/Output Aystem) มาตรฐานนี้สร้างขึ้นโดยบริษัทด้านเทคโนโลยีกว่า 140 บริษัท
โดยเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มบริษัท UEFI รวมทั้ง Microsoft ด้วย เฟิร์มแวร์นี้ได้รับการออกแบบขึ้นเพื่อ
ปรับปรุงความสามารถในการทำงานร่วมกันของซอฟต์แวร์และเพื่อแก้ไขข้อจำกัดต่างๆ ของ BIOS
ข้อได้เปรียบบางประการของเฟิร์มแวร์ UEFI ได้แก่
• ความปลอดภัยที่ดีขึ้นด้วยการช่วยปกป้องกระบวนการก่อนเริ่มต้นระบบ
หรือพรีบูตจากการโจมตีที่ bootkit
หรือพรีบูตจากการโจมตีที่ bootkit
• เวลาเริ่มต้นระบบและการกลับมาดำเนินการต่อจากการไฮเบอร์เนตที่รวดเร็วขึ้น
• รองรับไดรฟ์ที่มีขนาดใหญ่กว่า 2.2 เทราไบต์ (TB)
• รองรับโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์เฟิร์มแวร์แบบ 64 บิตรุ่นใหม่ที่ระบบสามารถใช้เพื่อ
จัดการหน่วยความจำขนาดสูงกว่า 17.2 พันล้านกิกะไบต์ (GB) ระหว่างเริ่มต้นระบบ
จัดการหน่วยความจำขนาดสูงกว่า 17.2 พันล้านกิกะไบต์ (GB) ระหว่างเริ่มต้นระบบ
• มีความสามารถในการใช้ BIOS กับฮาร์ดแวร์ UEFI
หมายเหตุ
พีซีแบบ 64 บิตทุกรุ่นที่ใช้ Windows ซึ่งมีโลโก้จากโปรแกรมให้การรับรองของ Windows
จะใช้ UEFI แทน BIOS เมื่อต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการสนับสนุน UEFI ในพีซีของคุณ
ให้ดูข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่มาพร้อมกับพีซีของคุณ
จะใช้ UEFI แทน BIOS เมื่อต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการสนับสนุน UEFI ในพีซีของคุณ
ให้ดูข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่มาพร้อมกับพีซีของคุณ
UEFI:-บูตได้เร็วกว่า-ด้วยไบออสแบบใหม่
ปัจจุบัน Mainboard ที่ผลิตออกมาและ Notebook รุ่นใหม่หลาย ๆ แบรนด์เริ่มมาใช้ UEFI BIOS
กับระบบการทํางานของวินโดวส์ 8
กับระบบการทํางานของวินโดวส์ 8
ด้านบนนี้เป็นส่วนที่ได้จากไมโครซอฟ์ท
สรุปว่า UEFI คือส่วนติดต่อเฟิร์มแวร์มาตรฐานใหม่สำหรับคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาใช้แทน
ไบออส (BIOS - Basic Input/Output System)แบบเดิมที่มีการใช้มานานหลายสิบปี
เรื่องนี้เป็นการปรับปรุงคล้ายกับช่วงเปลี่ยนจาก IDE เป็น AHCI
ไบออส (BIOS - Basic Input/Output System)แบบเดิมที่มีการใช้มานานหลายสิบปี
เรื่องนี้เป็นการปรับปรุงคล้ายกับช่วงเปลี่ยนจาก IDE เป็น AHCI
ในส่วนของข้อดีหลักๆของ UEFI
- รองรับหรือขยายขีดจำกัด HDD แบบ GPT ที่ทำให้มองเห็นฮาร์ดดิสก์มากกว่า 2.2TB ซึ่งแบบ MBR
(Master Boot Record) มองเห็นสูงสุดแค่ 2.2 TB
(Master Boot Record) มองเห็นสูงสุดแค่ 2.2 TB
- บางรุ่นออกแบบมาเป็นกราฟฟิคที่สวยงาม สามารถใช้เมาส์ตั้งค่าต่างๆในไบออสได้เลย
- ป้องกันไวรัสประเภทที่ฝังตัวใน MBR (เพราะระบบ MBR ใช้มาหลายสิบปีแล้ว)
- เพิ่มความเร็วในการบูทโอเอสให้เร็วขึ้น
การตั้ง Boot HDD ของโน๊ตบุ๊ค แบบ UEFI กับ LEGACY MODE ต่างกันอย่างไร
อธิบายประเภทของ DISK มี 2 ประเภท
Master boot record (MBR) disks use the standard BIOS partition table. โดย Disk ประเภทนี้ก็คือ
MBR เพราะ DISK BIOS จะสนับสนุนกับการลง BIOS รุ่นเก่าๆของเมนบอร์ดของเรานั้นเอง
โดย DISK จะไม่เกิน 2 TB
GUID partition table (GPT) disks use unified extensible firmware interface (UEFI)
โดย DISK ประเภทนี้เป็นแบบ GPT จะรองรับ firmware แบบ UEFI ซึ่งถ้าตั้งใน BIOS
ในเมนบอร์ดของเราให้ใช้ Boot แบบ UEFI เราจะต้องทำการ covert disk ให้เป็นแบบ GPT ก่อน
ถึงจะทำการลง Windows ได้ ซึ่งประเภทของ GPT ส่วนมากจะทำใน DISK
ที่มีขนาดมากกว่า 2 TBข้อดีของ DISK ประเภท GPT
จะสามารถทำการแบ่ง Partition ได้มากกว่า 4 Partition ใน DISK ลูกนั้นๆ
แต่เราสามารถ Convert DISK MBR ไปเป็น DISK GPT ได้
อ้างอิง
หมายเหตุ:เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลและเพื่อการศึกษาเท่านั้น
* หากมีข้อมูลข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย รบกวนแจ้ง Admin เพื่อแก้ไขต่อไป
ขอบคุณครับ
#WindowsForensic #ComputerForensics #dfir #forensics #digitalforensics #computerforensic #investigation #cybercrime #fraud
* หากมีข้อมูลข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย รบกวนแจ้ง Admin เพื่อแก้ไขต่อไป
ขอบคุณครับ
#WindowsForensic #ComputerForensics #dfir #forensics #digitalforensics #computerforensic #investigation #cybercrime #fraud